วิธีการประเมินความน่าเชื่อถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์
การประเมินหลักฐานเป็นขั้นตอนสำคัญขั้นตอนหนึ่งของวิธีการทางประวัติศาสตร์ เพราะหลักฐานทางประวัติศาสตร์มีจำนวนมาก ทั้งที่มีข้อมูลสอดคล้องและขัดแย้งกัน
วิพากษ์วิธีทางประวัติศาสตร์ คือ การตรวจสอบหลักฐานและข้อมูลในหลักฐานเหล่านั้นว่า มีความน่าเชื่อถือหรือไม่ ประกอบด้วยการวิพากษ์หลักฐาน (ประเมินภายนอก) และวิพากษ์ข้อมูล (ประเมินภายใน) โดยขั้นตอนทั้งสองจะกระทำควบคู่กันไป เนื่องจากการตรวจสอบหลักฐานต้องพิจารณาจากเนื้อหา หรือข้อมูลภายในหลักฐานนั้น และในการวิพากษ์ข้อมูลก็ต้องอาศัยรูปลักษณะของหลักฐานภายนอกประกอบด้วยการวิพากษ์หลักฐาน
วิธีการประเมินหลักฐานทางประวัติศาสตร์ หรือการวิพากษ์หลักฐานทางประวัติศาสตร์ มีอยู่ 2 กรณีคือ
1. การประเมินหลักฐานภายนอก การวิพากษ์หลักฐาน (external criticism)
เป็นการประเมินตัว หลักฐานจากภายนอก ว่าใครเป็นผู้บันทึกหลักฐานนั้น มีสถานภาพใดในขณะนั้น บันทึกโดยจุดมุ่งหมายใด มีความเป็นกลางเพียงใด คือ การพิจารณาตรวจสอบหลักฐานที่ได้คัดเลือกไว้แต่ละชิ้นว่ามีความน่าเชื่อถือเพียงใด แต่เป็นเพียงการประเมินตัวหลักฐาน มิได้มุ่งที่ข้อมูลในหลักฐาน ดังนั้นขั้นตอนนี้เป็นการสกัดหลักฐานที่ไม่น่าเชื่อถือออกไปการวิพากษ์ข้อมูลหรือวิพากษ์ภายใน
2. การประเมินหลักฐานภายใน การวิพากษ์ข้อมูล (internal criticism)
เป็นการประเมินเนื้อหาของข้อมูลที่ปรากฏในหลักฐานนั้นๆ ว่าน่าเชื่อถือ และมีอคติหรือไม่ ตรงกับข้อเท็จจริงหรือมีการบิดเบือนข้อมูลหรือไม่ คือ การพิจารณาเนื้อหาหรือความหมายที่แสดงออกในหลักฐาน เพื่อประเมินว่าน่าเชื่อถือเพียงใด โดยเน้นถึงความถูกต้อง คุณค่า ตลอดจนความหมายที่แท้จริง ซึ่งนับว่ามีความสำคัญต่อการประเมินหลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร เพราะข้อมูลในเอกสารมีทั้งที่คลาดเคลื่อน และมีอคติของผู้บันทึกแฝงอยู่ หากนักประวัติศาสตร์ละเลยการวิพากษ์ข้อมูลผลที่ออกมาอาจจะผิดพลาดจากความเป็น
ดี จุงเบยจ้าาาาาาาาาาาา
ตอบลบเยี่ยมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม
ตอบลบขอบคุณสำหรับเนื้อหาดีๆ ค่ะ
ตอบลบเนื้อหาดี....ต้องเอาไป....เขียนเป็นการบ้าน
ตอบลบเนื้อหาดี....ต้องเอาไป....เขียนเป็นการบ้าน
ตอบลบเนื้อหาดี....ต้องเอาไป....เขียนเป็นการบ้าน
ตอบลบตอบตกไหนอั
ลบเย็ดได้ป่าวใครหีขาวมาๆ
ตอบลบ